The 5-Second Trick For ด้วงสาคู

ใช้ทางมะพร้าว/ทางปาล์ม ขุยมะพร้าวและกากมะพร้าว ผสมรำกับมันสำปะหลังป่น โดยผสมให้สัดส่วนเท่าๆ กัน แล้วใส่ลงในท่อนสาคู/ท่อนลาน หรือท่อนมะพร้าวที่ด้วงอาศัยอยู่ หลังจากนั้นให้นำใบสาคูมาคลุมไว้

พ่อพันธุ์ – แม่พันธุ์ด้วงงวงมะพร้าว

นำไปปรุงอาหาร เช่น คั่วเกลือ ทอดน้ำมัน ผัดขี้เมา เป็นต้น และถ้าปรุงอาหารเสร็จแล้วเก็บไว้ในตู้เย็นจะได้ตัวหนอนด้วงที่มีรสชาติดีขึ้น

ด้วงงวงมะพร้าว เป็นแมลงกินได้ที่มีการเลี้ยงเพื่อนำมาบริโภคเป็นอาหารมาเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ที่มีพืชประจำถิ่นซึ่งเป็นพืชอาหาร ได้แก่ ต้นสาคู และต้นลาน เป็นต้น แต่ในปัจจุบันการเลี้ยงไมได้มีเฉพาะในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ แต่ได้มีการเลี้ยงกระจายไปในหลายพื้นที่ของประเทศ

ด้วงสาคู, ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ด้วงงวงมะพร้าว เป็นแมลงชนิดหนึ่งที่มีชื่อเรียกในบางพื้นที่ต่าง ๆ กัน ได้แก่ ด้วงมะพร้าว ด้วงไฟ ด้วงสาคู หรือด้วงลาน เนื่องจากใช้ตันสาคูหรือต้นลานมาเป็นพืชอาหารสำหรับเลี้ยงด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงมาเลี้ยงในกะละมัง และมีการพัฒนาสูตรอาหารจากเดิมที่ใช้แต่ท่อนลานหรือท่อนสาคูบด ปรับเปลี่ยนไปใช้กากมันสำปะหลังหมักยีสต์ การใช้อาหารสำเร็จรูปที่มีส่วนผสมของข้าวโพดบด และพืชอาหารชนิดต่าง ๆ ที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง จึงทำให้การเลี้ยงด้วงขยายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย

ใส่อ้อยสับลงไปผสมให้เข้ากันให้มีลักษณะเป็นเหมือนโคลนแล้วอัดให้เรียบเสมอกันในกะละมัง

แมลงกินได้กำลังเป็นที่นิยมรับประทานกันมากขึ้นเนื่องจากแมลงมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวและไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อนสูง ด้วงสาคู การบริโภคผลิตภัณฑ์จากแมลงแทนผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ทั่วไปอาจส่งผลดีต่อสุขภาพ ปัจจุบันนอกจากจิ้งหรีดที่สามารถผลิตส่งออกต่างประเทศได้แล้วแล้ว ยังมีแมลงที่น่าสนใจอีกชนิดคือ ด้วงสาคูในระยะตัวหนอน ที่ในอนาคตอาจมีการส่งออกต่างประเทศได้

นำส่วนผสมที่ได้ใส่กะละมัง อัดให้แน่นพอประมาณ

เทคนิคการเลี้ยงด้วงในวันนี้จะเป็นการเพาะเลี้ยงในกะละมังและนอกจากใช้ต้นอ้อยสับในการเพาะเลี้ยงแล้วยังสามารถแทนต้นอ้อยสับได้ด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อนได้เช่นเดียวกันค่ะมาดูกันว่ามีวัสดุและขั้นตอนวิธีการเลี้ยงตั้งแต่เริ่มต้นกันเลย วัสดุอุปกรณ์ส่วนผสมในการเตรียมอาหารและที่เพาะเลี้ยงด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว

วัสดุอะไรก็ได้ที่มีน้ำหนักพอจะทับฝาที่ปิดกะละมัง

สภาพภูมิอากาศ ถ้าระดับความชื้นในอากาศไม่เพียงพอ ก็อาจทำให้ด้วงสาคูเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร นี่เลยเป็นเหตุผลหนึ่งว่าทำไมสัตว์ชนิดนี้ถึงนิยมเลี้ยงกันมากในภาคใต้ ที่มีปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมากและยาวนานตลอดทั้งปี นอกจากนี้การถ่ายเทของอากาศในโรงเรือนก็สำคัญ​ จำไว้ว่าต้องชื้นแต่ไม่อับถึงจะดี

เรามาดูขั้นตอนการเลี้ยงด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) กันว่าเป็นอย่างไร

จับตัวด้วงตัวเต็มวัยที่ได้รวบรวมอีกกะละมังเพื่อคัดแยกเพศรอการผสมพันธุ์ก่อนนำไปปล่อยในกะละมังผลิตขยายหนอนด้วงสาคูต่อไป

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *